TAT Review Magazine

  • Skip to content
  • Jump to main navigation and login

Nav view search

Navigation

  • Home
  • การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
  • ศูนย์วิจัยด้านตลาดการท่องเที่ยว
  • คลังภาพ ททท.
  • TAT Library

Search

Logo

Main Menu

  • หน้าแรก
  • อ่าน TAT Review 2558-2560
  • อ่าน JOURNAL ปี 2547-2557
  • ข่าวสาร และกิจกรรม
  • วิดีโองานสัมมนา
  • ดาวน์โหลดเอกสาร
  • เกี่ยวกับเรา

FaceBook

Tweets by @etatjournal

  • Forgot your username?
  • Forgot your password?
  • Breadcrumbs
  • You are here:  
  • Home
  • TAT TOURISM JOURNAL
  • ปี 2554
  • ฉบับที่ 2/2554 เมษายน-มิถุนายน
  • เศรษฐกิจสร้างสรรค์

หน้าแรก

Food Will Keep Us Alive

‘อาหาร’ เป็นหนึ่งในปัจจัย 4 ที่มนุษย์จำเป็นต้องพึ่งพา ในการดำรงชีวิต แต่สำหรับมนุษย์ส่วนใหญ่แล้ว การ ‘กินเพื่ออยู่’ ดูจะไม่ตรงกับประสบการณ์ในการกินอาหารแต่ละมื้อ นั่นคงเป็น เพราะว่าการผลิต ปรุง และกินอาหารเป็นกิจกรรมที่ผูกพันกับ วัฒนธรรมการดำรงอยู่ของมนุษย์มาอย่างยาวนาน นับตั้งแต่แรกเริ่ม การทำเกษตรกรรมเพื่อผลิตวัตถุดิบ การปรุงอาหารซึ่งพัฒนา มาเรื่อยๆ จนสามารถนับได้ว่าเป็นศิลปะแขนงหนึ่ง ตลอดจน วัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนหรือกินอาหาร เช่น การจ่ายตลาด การกินอาหารโดยใช้ตะเกียบของชาวเอเชีย วัฒนธรรมร้านกาแฟ ในยุโรป จนอาจกล่าวได้ว่าในอาหารจานหนึ่งๆ เช่น เฝอหนึ่งชาม โรตีหนึ่งแผ่น หรือซูชิหนึ่งคำนั้น มีการถ่ายทอดภูมิปัญญาและวิถีชีวิต ของแต่ละท้องถิ่นอย่างประมาณค่าไม่ได้

Details
Published: 15 February 2017
  • Tourism Research
  • ท่องเที่ยววิจัย
  • ชญานิน วังซ้าย

อ่านต่อ

Food on the Move

หากพูดถึงการท่องเที่ยวแล้ว หลายคนคงจะนึกถึงการเดินทางไปยังสถานที่ต่าง ๆ ที่พัก สายการบิน และอาหาร ใช่แล้ว อาหาร ปัจจัย 4 ที่มนุษย์ขาดไม่ได้ จากผลสำรวจพบว่า มากกว่า 1 ใน 3 ของค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยวทั้งหมดถูกใช้ไปในเรื่องของอาหาร เพราะเหตุนี้เองหลายๆ ประเทศจึงเริ่มกลับมาให้ความสนใจในเรื่องของการนำอาหาร มาใช้เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมการท่องเที่ยว

Details
Published: 31 January 2017
  • เพียงความเคลื่อนไหว
  • Tourism on the Move
  • บัณฑิต อเนกพูนสุข

อ่านต่อ

เที่ยวทั่วท้อง

นิยามการท่องเที่ยวของคนเราในยุคนี้สนุกขึ้นเรื่อยๆ จากที่แต่ก่อนเราเน้นเพียงแค่ การเคลื่อนตัวจากสถานที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่ง เปลี่ยนจากกรุงเทพฯ เป็นเชียงใหม่ เปลี่ยนจาก ประเทศไทยเป็นประเทศญี่ปุ่น เพียงแค่ไปยืนในที่ที่ไม่เหมือนแถวบ้านเรา ไปเดินในที่ที่เราอ่านภาษาเขาไม่ออก หรือเมาท์คนต่างชาติแล้วเขาไม่โกรธ (ฟังไม่รู้เรื่อง) แค่นี้ก็ก่อให้เกิดความรู้สึกดี แต่ด้วยเหตุที่ค่าตั๋วเครื่องบินดันถูก การไปสู่ดินแดนที่ไม่คุ้นเคย และเป็นเรื่องใหญ่จึงค่อยๆ กลายเป็นความคุ้นเคยและกลายเป็น เรื่องง่ายดาย การไปต่างถิ่นได้หลายรอบทำให้ความเรื่องมากเพิ่มขึ้น ซึ่งไม่ได้แปลว่าเรื่องมากแล้วไม่ดี แต่ว่ามันคือโอกาสที่เราจะได้ ทำความรู้จักดีเทลใหม่ๆ ในสถานที่ที่เราไม่คุ้นเคยบ้าง การท่องเที่ยวจะไม่จบแค่การถ่ายรูปกับสถานที่ท่องเที่ยวอีกต่อไป

Details
Published: 19 January 2017
  • Pop Culture Tourism
  • การท่องเที่ยวป๊อปคัลเจอร์
  • นวพล ธำรงรัตนฤทธิ์

อ่านต่อ

Food Tourism 2.0

ในยุคสมัยที่ทุกอย่างล้วนแต่ผนึกแน่นอยู่ในโลกดิจิทัล แม้กระทั่ง การท่องเที่ยวเดินทาง ดูเหมือนจะยังเหลืออาหารเพียงอย่างเดียวเท่านั้น ที่ยังดื้อดึงเป็นอนาล็อก

ก็ใช่น่ะสิครับ ถ้าไม่อนาล็อก แปลงร่างเป็นดิจิทัลกันหมด ก็แล้ว เราจะกินมันเข้าไปได้อย่างไร

ประสบการณ์การเดินทางเพื่ออาหาร (อย่างที่เรียกว่า Culinary Travel Experience) คือสิ่งที่เราต้อง ‘สัมผัส’ ในทางกายภาพ เพราะฉะนั้น ร้านอาหาร (ซึ่งอาจแปลงกายมาในรูปแบบอื่นๆ ได้อีกมาก) จึงน่าจะเป็นแนวรบสุดท้ายที่ไม่ถูก Digitized ไปอย่างเต็มตัว

Details
Published: 18 January 2017
  • ท่องเที่ยวเกี่ยวเนื่องเรื่องโลกร้อน
  • Low Carbon Tourism
  • โตมร ศุขปรีชา

อ่านต่อ

Foodie Food Tourism Trend 2017

ถ้าคุณเคยมีประสบการณ์การไปกินเลี้ยงในภัตตาคารหรูหรากับกลุ่มเพื่อน เมื่ออาหารน่ากินเริ่มทยอยมาเสิร์ฟถึงโต๊ะ แต่มีเพื่อนบางคนบอกให้คนอื่นๆ ชะงัก ไว้ก่อน เพื่อที่เขาจะได้เอาโทรศัพท์มือถือขึ้นมาถ่ายรูปอาหารในจานหลากหลายมุม จนกระทั่งโพสต์ใส่โซเชียลมีเดียเสร็จ จึงยอมให้เพื่อนๆ ได้ลงมือจัดการอาหาร ตรงหน้าได้

นั่นก็แปลว่าคุณคุ้นเคยกับชาวฟู้ดดี้ และพวกเราทุกคนก็ร่วมอยู่ในยุคสมัยของฟู้ดดี้ด้วยกัน

Details
Published: 16 January 2017
  • Tourism Trends
  • แนวโน้มท่องเที่ยว
  • วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ

อ่านต่อ

Page 8 of 11

  • Start
  • Prev
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • 10
  • 11
  • Next
  • End
f shareTwitter

google

Back to Top

TAT 4/2017 TAT 3/2017  TAT 2/2017 TAT 1/2017 TAT 4/2016 TAT 3/2016 TAT 2/2016 TAT 1/2016  

Powered by Joomla!®